เอกภาษาอาหรับ
สังกัดภาควิชาภาษาตะวันออก
คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี
สังกัดภาควิชาภาษาตะวันออก
คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี
เว็บไซต์ : http://huso.pn.psu.ac.th/Eastern/
สำนักงาน : ห้อง 50317 อาคารคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี 94000
โทรศัพท์ 0-7331-3930-50 ต่อ 3051
ภาควิชาภาษาตะวันออกจัดการเรียนการสอนตาม หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาจีน ภาษามลายู และมลายูศึกษา ภาษาอาหรับ ภาษาเกาหลี โดยเน้นการศึกษาเกี่ยวกับทักษะทั้งสี่ คือ การฟัง การพูด การอ่านและการเขียน เพื่อประโยชน์ในการสื่อสารรวมทั้งการศึกษาวรรณคดีีและศิลปวัฒนธรรมของชนชาติ ที่ใช้ภาษาเหล่านี้ตลอดจนศึกษาถึงความสัมพันธ์ระหว่างภาษาไทยกับภาษาดังกล่าว นอกจากนี้สาขาวิชาภาษามลายูและมลายูศึกษาได้จัดหลักสูตรเพื่อศึกษาเรื่องราวต่างๆเกี่ยวกับสังคมและวัฒนธรรมมลายูในกรอบแนวคิดของโลกมลายู (The Malay World) ของชนชาวมลายูในอาเซียนที่เรียกว่า ภูมิภาคมลายู (Nusantara)
บุคคลากรแผนกภาษาอาหรับ
- นายซิดดิก อาลี, B.A.(Arabic) The Islamic University of Madina, Kingdom of Saudi Arabia, 2536 (ศึกษาต่อปริญญาโทอิสลามศึกษา ณ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์)
- นางใซนับ ปูเต๊ะ, ศศ.บ.(ภาษาอาหรับ) มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, 2541 (ศึกษาต่อระดับปริญญาโท ณ International Islamic University Malaysia)
- นายมูหัมมัดมันซูร หมัดเร๊าะ, ศศ.บ.(ภาษาอาหรับ) มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, 2543, ศศ.ม. (อิสลามศึกษา) มหาวิทยาลัยสงขลา นครินทร์ 2551
- นายอัสสมิง กาเซ็ง, B.A.(Arabic) The Islamic University of Madina, Saudi Arabia, 2535, อ.ม.(ภาษาศาสตร์) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2544
- นางสาววิลัยลักษณ์ วิเศษรัตน์, B.A. (Islamic Studies) International University of Africa (ซูดาน), M.A. (Teaching Arabic to Non-Arabic Speakers, Khartoum International Institute for Arabic Language, ซูดาน, 2546 (ลาศึกษาต่อระดับปริญญาเอก ณ ประเทศมาเลเซีย)
----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
ข้อมูลเกี่ยวกับ
คณะคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี
คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์มี 8 ภาควิชา คือ
1. ภาควิชาภาษาไทย
2. ภาควิชาภาษาตะวันตก
3. ภาควิชาภาษาตะวันออก
4. ภาควิชาสังคมศาสตร์
5. ภาควิชาภูมิศาสตร์
6. ภาควิชาปรัชญาและศาสนา
7. ภาควิชาประวัติศาสตร์
8. ภาควิชาบรรณารักษศาสตร์และสารนืเทศศาสตร์
และ 1 สำนักงานเลขานุการคณะ
คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์เปิดรับนักศึกษา รุ่นแรก เมื่อปีการศึกษา 2518 คณะมีประวัติการจัดตั้ง
และการดำเนินงานโดยสังเขป ดังนี้
2518 จัดตั้งภาควิชาภาษาไทยและภาควิชาภาษาตะวันออก ภาควิชาภาษาตะวันตก
ภาควิชาสังคมศาสตร์ สำนักงานเลขานุการคณะ และเปิดรับนักศึกษารุ่นแรก
2521 ทบวงมหาวิทยาลัยยกฐานะหน่วยวิชาบรรณารักษศาสตร์ เป็นภาควิชาบรรณารักษศาสตร์
2525 จัดตั้งภาควิชาปรัชญาและศาสนา
2529 เปิดสอนหลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย
2530 เปิดสอนหลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาบรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศศาสตร์
2533 เปิดสอนหลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาสังคมวิทยา
2534 จัดตั้งภาควิชาภาษาตะวันออก (แยกออกจากภาควิชาภาษาไทยและภาษาตะวันออก)
2535 จัดตั้งภาควิชาประวัติศาสตร์และศิลปะ (แยกออกจากภาควิชาสังคมศาสตร์)
ปัจจุบันเปิดสอน 3 ระดับ ดังนี้
1. ระดับปริญญาตรี จำนวน 5 หลักสูตร คือ
- ศิลปศาสตรบัณฑิต 16 สาขาวิชา ได้แก่
1. สาขาวิชาภาษาและวรรณคดีไทย
2. สาขาวิชาภาษาจีน
3. สาขาวิชาภาษาจีน (หลักสูตรนานาชาติ)
4. สาขาวิชาภาษามลายู
5. สาขาวิชามลายูศึกษา
6. สาขาวิชาภาษาอาหรับ-ภาษาอาหรับธุรกิจ
7. สาขาวิชาภาษาญี่ปุ่น
8. สาขาวิชาภาษาเกาหลี
9. สาขาวิชาภาษาอังกฤษ
10. สาขาวิชาภาษาฝรั่งเศส
11. สาขาวิชาภาษาเยอรมัน
12. สาขาวิชาการจัดการสารสนเทศ
13. สาขาวิชาประวัติศาสตร์
14. สาขาวิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา
15. สาขาวิชาพัฒนาสังคม
16. สาขาวิชาปรัชญาและศาสนา
- วิทยาศาสตรบัณฑิต 1 สาขาวิชา คือ สาขาวิชาภูมิศาสตร์
- เศรษฐศาสตรบัณฑิต - สังคมสงเคราะห์ศาสตรบัณฑิต - บริหารธุรกิจบัณฑิต
1. ระดับปริญญาตรี จำนวน 5 หลักสูตร คือ
- ศิลปศาสตรบัณฑิต 16 สาขาวิชา ได้แก่
1. สาขาวิชาภาษาและวรรณคดีไทย
2. สาขาวิชาภาษาจีน
3. สาขาวิชาภาษาจีน (หลักสูตรนานาชาติ)
4. สาขาวิชาภาษามลายู
5. สาขาวิชามลายูศึกษา
6. สาขาวิชาภาษาอาหรับ-ภาษาอาหรับธุรกิจ
7. สาขาวิชาภาษาญี่ปุ่น
8. สาขาวิชาภาษาเกาหลี
9. สาขาวิชาภาษาอังกฤษ
10. สาขาวิชาภาษาฝรั่งเศส
11. สาขาวิชาภาษาเยอรมัน
12. สาขาวิชาการจัดการสารสนเทศ
13. สาขาวิชาประวัติศาสตร์
14. สาขาวิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา
15. สาขาวิชาพัฒนาสังคม
16. สาขาวิชาปรัชญาและศาสนา
- วิทยาศาสตรบัณฑิต 1 สาขาวิชา คือ สาขาวิชาภูมิศาสตร์
- เศรษฐศาสตรบัณฑิต - สังคมสงเคราะห์ศาสตรบัณฑิต - บริหารธุรกิจบัณฑิต
2. ระดับปริญญาโท หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (ศศ.ม.) จำนวน 4 สาขาวิชา ได้แก่
1. การบริหารการพัฒนาสังคม
2. การจัดการสารสนเทศ
3. ภาษาไทย
4. ภาษาอังกฤษ
3. ระดับปริญญาเอก หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (ปร.ด.) จำนวน 1 สาขาวิชา คือ สาขาวิชาภาษาไทย
สีของคณะ คือ สีขาว
1. การบริหารการพัฒนาสังคม
2. การจัดการสารสนเทศ
3. ภาษาไทย
4. ภาษาอังกฤษ
3. ระดับปริญญาเอก หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (ปร.ด.) จำนวน 1 สาขาวิชา คือ สาขาวิชาภาษาไทย
สีของคณะ คือ สีขาว