الْحُرُوْفُ الْهِجَائِيَّةُ
พยัญชนะในภาษาอาหรับ
พยัญชนะในภาษาอาหรับมีทั้งหมด 28 ตัว ดังต่อไปนี้
ح
หาอ์
|
ج
ญีม
|
ث
ษาอ์
|
ت
ตาอ์
|
ب
บาอ์
|
ا
อลิฟ
|
س
สีน
|
ز
ซาล
|
ر
รออ์
|
ذ
ซาล
|
د
ดาล
|
خ
คออ์
|
ع
อัยนฺ
|
ظ
ซออ์
|
ط
ฏออ์
|
ض
ฎอด
|
ص
ศอด
|
ش
ชีน
|
م
มีม
|
ل
ลาม
|
ك
กาฟ
|
ق
กอฟ
|
ف
ฟาอ์
|
غ
ฆอยนฺ
|
ء
ฮัมซะฮฺ
|
ي
ยาอ์
|
و
วาว
|
هـ
ฮาอ์
|
ن
นูน
|
พยัญชนะในภาษาอาหรับที่แบ่งเป็น 28 ตัว ในหนังสือบางเล่มอาจแบ่งเป็น 29
ตัวเนื่องจากมีการแยกตัว “อลิฟ” กับ “ ฮัมซะฮฺ
” เป็นคนละตัว
แต่ในหนังสือเล่มนี้ยังคงแบ่งเป็น 28ตัวเนื่องจากเห็นว่า “ ฮัมซะฮฺ
” เป็นชื่ออีกชื่อหนึ่งของ “อลิฟ”
คำถาม “ฮัมซะฮฺ”
กับ“อลิฟ” แตกต่างกันอย่างไร? เมื่อไหร่จะเรียกว่า“ฮัมซะฮฺ”และเมื่อไหร่จะเรียกว่า
“อลิฟ”?
คำตอบ
1.ฮัมซะฮฺอักษรที่มีเสียงรับสระได้
ทำหน้าที่เป็นพยัญชนะต้นและตัวสะกด
ส่วนอลิฟ (ไม่มีเสียง)
เป็นเพียงตัวสะกด
หรือตัวช่วยให้สระฟัตหะฮฺออกเสียงยาวขึ้น
2. ฮัมซะฮฺสามารถเขียนบนอักษรอื่นได้ เช่น
บนอักษร “ ยา ”
ئ(อลิฟบนเรือนยา),
บนอักษร “ วาว” ؤ
(อลิฟบนเรือนวาว), และบนหรือล่างอักษร“ อลิฟ
” أ إ ส่วน อลิฟ เขียนได้รูปเดียว (แต่ทั้งนี้และ
ทั้งนั้น ก็ขึ้นอยู่กับกฏการเขียนเช่นเดียวกัน)
ตารางเทียบเสียงพยัญชนะอาหรับ–ไทย - สัทอักษรสากล
พยัญชนะเทียบ( Transliteration) ที่ใช้นี้
ถือเอาเสียงที่ใกล้เคียงและความแตกต่างของพยัญชนะที่พอสังเกตได้เป็นสำคัญการออกเสียงให้ถูกต้องนั้น
โปรดสังเกตจากการเทียบกับสัทอักษรสากล ( I P A )
พยัญชนะอาหรับ
|
ชี่อพยัญชนะ
|
พยัญชนะไทย
|
สัทอักษรสากล[1]
|
ا
|
อลิฟ
|
อ
|
ʔ
|
ء
|
ฮัมซะฮฺ
|
อ
|
ʔ
|
ب
|
บาอ์
|
บ
|
b
|
ت
|
ตาอ์
|
ต
|
t
|
ث
|
ษาอ์
|
ษ
|
θ
|
ج
|
ญีม
|
ญ
|
ɟ
|
ح
|
หาอ์
|
ห
|
ħ
|
خ
|
คออ์
|
ค,ข
|
X
|
د
|
ดาล
|
ด
|
d
|
ذ
|
ซาล
|
ซ
|
ð
|
ر
|
รออ์
|
ร
|
r
|
ز
|
ซาล
|
ซ
|
z
|
س
|
สีน
|
ส
|
s
|
ش
|
ชีน
|
ช
|
ʃ
|
ص
|
ศอด
|
ศ
|
sm
|
ض
|
ฎอด
|
ฎ
|
dm
|
ط
|
ฏออ์
|
ฏ
|
tm
|
ตารางเทียบเสียงพยัญชนะอาหรับ –ไทย – สัทอักษรสากล
(ต่อ)
พยัญชนะอาหรับ
|
ชี่อพยัญชนะ
|
พยัญชนะไทย
|
สัทอักษรสากล
|
ظ
|
ซฺออ์
|
ซฺ
|
ðm
|
ع
|
อัยนฺ
|
อฺ
|
ʕ
|
غ
|
ฆอยนฺ
|
ฆ
|
ʁ
|
ف
|
ฟาอ์
|
ฟ
|
f
|
ق
|
กฺอฟ
|
กฺ
|
q
|
ك
|
กาฟ
|
ก
|
k
|
ل
|
ลาม
|
ล
|
l
|
م
|
มีม
|
ม
|
m
|
ن
|
นูน
|
น
|
n
|
هـ
|
ฮาอ์
|
ฮ
|
h
|
و
|
วาว
|
ว
|
w
|
ي
|
ยาอ์
|
ย
|
j
|
ข้อควรจำ
-
หน่วยเสียงที่มีสัญลักษณ์พิเศษ m
กำกับเช่น sm คือหน่วยเสียงที่มีการเคลื่อนโคนลิ้นไปสู่ผนังคอ
- เสียงพยัญชนะของภาษาไทยไม่สามารถเทียบเสียงพยัญชนะภาษาอาหรับได้ทั้งหมดจึงเป็นเรื่องยากที่จะ
เขียนคำอ่านในภาษาไทยให้ตรงกับสำเนียงในภาษาอาหรับ
ผู้เรียนควรอาศัยการเทียบจากสัทอักษรสากล
และหมั่นฝึกฝนการออกเสียงตามเจ้าของภาษาหรืออาจารย์ผู้สอน
3 ความคิดเห็น:
เราก็เป็นคนพุทธอยากอ่านออกเขียนได้เหมือนกัน...ไม่รุ้จะเริ่มยังไงดี..คัยมีคำแนะนำไรดีๆช่วยบอกหน่อย...ตอนนี้มึนมากกก
อยากได้แบบเส้นประคะ
จะได้ทำสื่อการสอนให้เด็กนักเรียนคะ
แสดงความคิดเห็น