ประกาศข่าว ยังไม่มีข่าวใหม่ครับ

บล็อกเอกภาษาอาหรับ ม.อ. ปัตตานี

ยินดีต้อนรับสู่บล็อกเพื่อการเรียนรู้ภาษาอาหรับ พื้นที่เรียนรู้ภาษาอาหรับในโลกใบใหญ่

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ี

"มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เป็นมหาวิทยาลัยชั้นนำในระดับภูมิภาคเอเชีย ทำหน้าที่ผลิตบัณฑิต บริการวิชาการ และทำนุบำรุงวัฒนธรรม โดยมีการวิจัยเป็นฐาน"

บทความ/กิจกรรมล่าสุด

พจนานุกรมภาพ 4 ภาษา Kamus Bergambar

Kamus Bergambar (Rumi-Jawi-Arab-Inggeris) 
พจนานุกรมรูปภาพ รูมี ยาวี อาหรับ อังกฤษ


พิมพ์ครั้งที่ 5 ปี 2009 
Perpustakaan Negara Malaysia

หนังสือเพื่อการเรียนรู้คำศัพท์ 4 ภาษา  (รูมีมาเลย์-ยาวี-อาหรับ-ไทย) รวบรวมคำศัพท์รอบตัวที่จำเป็น เพื่อการนำไปใช้ เป็นหนังสือที่จัดพิมพ์โดยมหาวิทยาลัยอ๊อกซฟอร์ด ประเทศอักฤษ  (Oxford Fajar Sdn. Bhd.) เมื่อปี 2001  ถือว่าเป็นหนังสือดีเล่มหนึ่งที่อยากเเนะนำให้ท่านผู้อ่านได้ศึกษาครับ


ดาวโหลดไฟล์หนังสือ
ชนิดไฟล์ : .pdf  I  จำนวนหน้า 176  I ขนาดไฟล์ : 25 MB







วันชาติประเทศในภูมิภาคตะวันออกกลาง








 วันชาติ 18 ธันวาคม




รัฐกาตาร์
State of Qatar

เมืองหลวง กรุงโดฮา





วันชาติ  16 ธันวาคม




ราชอาณาจักรบาห์เรน
Kingdom of Bahrain

เมืองหลวง  กรุงมานามา (Manama)


วันชาติ  1 เมษายน

สาธารณรัฐอิสลามอิหร่าน
Islamic Republic of Iran

เมืองหลวง กรุงเตหะราน (Tehran)






วันชาติ   3  ตุลาคม


สาธารณรัฐอิรัก
Republic of Iraq

เมืองหลวง กรุงแบกแดด (Baghdad)





วันชาติ  26 เมษายน (สำหรับปี 2555)



รัฐอิสราเอล
State of Israel

เมืองหลวง กรุงเทลอาวีฟ (Tel Aviv)




   วันชาติ  25 พฤษภาคม



ราชอาณาจักรฮัชไมต์จอร์แดน
Hashemite Kingdom of Jordan

เมืองหลวง  กรุงอัมมาน (Amman)





   วันชาติ   25 กุมภาพันธ์



รัฐคูเวต
State of Kuwait

เมืองหลวง คูเวตซิตี้ (Kuwait City)







วันชาติ   22 พฤศจิกายน


สาธารณรัฐเลบานอน
Republic of Lebanon

เมืองหลวง กรุงเบรุต






วันชาติ  18  พฤษภาคม


รัฐสุลต่านโอมาน
Sultanate of Oman

เมืองหลวง กรุงมัสกัต (Muscat)






วันชาติ 23 กันยายน



ราชอาณาจักรซาอุดีอาระเบีย  

Kingdom of Saudi Arabia

เมืองหลวง กรุงริยาด (Riyadh)






วันชาติ 17 เมษายน


สาธารณรัฐอาหรับซีเรีย

Syrian Arab Republic

เมืองหลวง กรุงดามัสกัส (Damascus)






  วันชาติ 2 ธันวาคม


สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์
United Arab Emirates (UAE)

เมืองหลวง กรุงอาบูดาบี (Abu Dhabi)





วันชาติ 22  พฤษภาคม



สาธารณรัฐเยเมน
Republic of Yemen

เมืองหลวง ซานอา (Sana’a)

معسكر اللغة العربية لعام 2011م (สรุปภาพรวมค่ายฯ)


معسكر اللغة العربية لعام  2011م
Arabic Camp 2011  


لقد تشرّفتْ أكاديمية الدراسات الإسلامية، جامعة مالايا فرع نيلم فوري-ماليزيا بتنظيم معسكر اللغة العربية لعام 2011م، وذلك بالتعاون مع جامعة الأمير سونكلا فرع فطاني-تايلاند في الفترة ما بين 18 إلى 23 أكتوبر 2011م بمقر أكاديمية الدراسات الإسلامية بنيلم فوري. وهذا يُعتبر حدثاً تاريخياً عظيماً للعلاقة الثنائية بين الجامعتين الشقيقتين، وقد شارك في هذا المعسكر 40 طالباً وطالبةً – 20 طالباً وطالبةً من كلتا الجامعتينِ.
وإقامة هذا المعسكر اللغوي تحقّق الاتفاق الذي حصل عليه الجهتان في زيارة جامعة الأمير سونكلا لجامعة مالايا فرع نيلم فوري في شهر أغسطس الماضي. وسيكون المعسكر سنوياً كما أنه سيُقام بالتناوب بين الجامعتين، وقد جاء في الأول دور جامعة مالايا نيلم فوري وسيكون الدور المقبل لجامعة الأمير سونكلا وسيتمّ عقده في تايلاند.
وبدأ اليوم الأول من المعسكر ببرنامج التعارف أو يسمّى بــ"كسر الجليد" (ice breaking)، وقد تمّ فيه التعارف الجماعي ثم الثنائي، وتعرّف المشتركون على بعضهم البعض من خلال بعض الألعاب الترفيهية، والهدف منه فكّ الارتباط بين المجموعات المتعارفة سالفاً ودمج الأفراد في المجموعة الكبيرة. وبعد ذلك، وضع المشاركون –حسب المجموعات- التوقّعات من المعسكر، ووُضع هذا النشاط لتعزيز الملكية الجماعية للمشاركين وتوطيد العلاقات وخلق حوار بين المجموعات مع كسر الحواجز النفسية.
وكانتْ البرامج المعدّة لهذا المعسكر تتركّز على المهارات اللغوية الأربع، ففي البداية تمّ التركيز على مهارة الاستماع، ولقد تمتّع المشتركون ببعض النشاطات التي هدفتْ إلى تدريب المشتركين على الاستماع إلى نصوص اللغة العربية وفهمها فهماً صحيحاً. وفي مهارة الكلام أُخذ المشتركون إلى "شاطئ نور القمر" وأقيمتْ هناك بعض الأنشطة التي تجبر المشتركين على الكلام باللغة العربية، وبهذه الأنشطة استطعنا دفعهم إلى المحادثة بينهم باللغة العربية دون حياء أو خجل.
وبرنامج اليوم الثالث كان حول مهارة الكتابة، وتمحورتْ مضامينها حول أسس الكتابة الصحيحة والقيام ببعض التمرين لكشف الأخطاء الشائعة التي لم ينتبه إليها أكثرية الطلبة. واليوم الرابع كان مخصَّصاً لمهارة القراءة، فقد قام المشتركون ببعض الأنشطة التي تتطلّب من المشتركين القراءة والتأملّ حتى يكتمل الفهم ويصحّ التعبير، وكانتْ الأنشطة مرحةً ومسلّية إلى جانب أنها مفيدة وممتعة جداً.
وكان في اليوم الأخير حفل الاختتام، وقد تشرّف الوفد من جامعة الأمير سونكلا لحضور الحفل الختامي مكوّناً من أربعة أفراد على رأسهم الأستاذ المشارك أوانج لانوي-مدير كلية العلوم الإنسانية والاجتماعية بالجامعة، ومعه د/ زين الدين والأستاذ منصور والأستاذ يحيى. وكان شرفاً عظيماً للمعسكر أن تكرّم د/ أحمد نجيب عبدالله باختتام المعسكر نيابةً عن نائب مدير أكاديمية الدراسات الإسلامية بجامعة مالايا، فرع نيلم فوري. وألحّ في كلماته الاختتامية إلى شكره الجزيل لكل من ساهم في 
إنجاح هذا المعسكر من كلتا الجامعتين الشقيقتين. وجزاكم الله عنّا وعن المسلمين خير الجزاء. وهنيئاً لكم!
---------------------------------
http://hazrulsalleh.blogspot.com/2011/10/2011-2011-18-23-2011.html  : المراجع  
คลิกลิ้งด้านล่างเพื่อดูภาพกิจกรรมค่ายฯ

"ฮิกายะฮฺ" เล่าสู่กันฟัง เรื่องยูฮา ตอนซุปกระต่าย

นิทานเรื่องยูฮา ตอนที่ 2 ซุปกระต่าย


1. ชายชาวนาผู้หนึ่งได้นำกระต่ายไปยังบ้านของยูฮา เมื่อถึงบ้านยูฮาเขาก็ได้เคาะประตูบ้าน ก็อกๆๆ

2. ทันใดนั้นยูฮาก็ได้เปิดประตู พรางกล่าวกับชายชาวนาผู้นั้นว่า "ท่านเป็นใครกัน?!!"
ชายผู้นั้นได้ตอบเเก่ยูฮาว่า "ฉันปลื้มคุณ ที่คุณเป็นผู้ที่ฉลาดปราดเปรื่อง เเละเป็นผู้ทรงความรู้", ฉันอยากที่จะมอบกระต่ายตัวนี้เป็นของกำนัลให้คุณ  โปรดรับมันไว้ด้วยเถิด...

3. ยูฮารู้สึกปราบปลื้มใจอย่างยิ่ง เขาได้รับกระต่ายจากชายผู้นั้น  พร้อมกับชวนชายชาวนาผู้นั้
นเข้ามาในบ้านเพื่อรับประทานอาหารพร้อมกับเขา

4. หลังจากรับปนะทานอาหารเสร็จ....
  ยูฮาก็ได้ส่งเเขก(ชายชาวนา) ด้วยความหวังที่ให้ชายชาวนาผู้นั้นกลับมาเยี่ยมเขาอีกในภายภาคหน้า...

5. หลายสัปดาห์ผ่านไป...
ชายชาวนาผู้นั้นได้เจอกับยูฮาอีกครั้ง  ปรากฎว่ายูฮาจำชายชาวนาผู้นั้นไม่ได้  ยูฮาได้ถามเขาว่า
"ท่านเป็นใครกัน?"
ชายผู้ชาวนาผู้นั้นได้ตอบว่า  "ก็ฉัน คือเจ้าของกระต่ายตัวนั้นไง!! จำไม่ได้หรือ?"

6. อ่อ...จำได้เเล้ว
ยูฮาก็ได้เชิญเขาไปกลับไปรับประทานอาหารที่บ้านด้วยกันอีกครั้ง...

7. และหลายสัปดาห์ผ่านไป...
ได้มีชายชาวนา 4 คน ได้บุกเข้ามาในบ้านของยูฮา
ทันใดนั้นยูฮาก็ได้ถามไถ่ถึงธุระของพวกเขา
พวกเขาได้กล่าวแก่ยูฮาว่า "พวกเราคือ เพื่อนบ้านของเจ้าของกระต่ายผู้นั้นไง...."

8. ยูฮาได้ต้อนรับพวกเขาเป็นอย่างดี  เขาได้จัดสำรับอาหารเพื่อเลี้ยงเเขกตามมารยาท

9. พวกเขาได้ลากลับไปหลังจากรับประทานอาหารเสร็จ...โดยที่ไม่เหลืออาหารใดๆ ทิ้งไว้เลย (เกลี้ยง....)

10. สามสัปดาห์ผ่านไป....
ได้มีชาย 8 คน บุกเข้ามาในบ้านของยูฮาอีกครั้ง  เขาลุกขึ้นไปเจอกับพวกเขาด้วยความตกใจ...

11. เเละพรางกล่าวกับพวกเขาในสภาพที่ตกตลึงว่า "พวกท่านเป็นใครกัน?!!"
พวกเขากล่าวตอบว่า "พวกเราเป็นเพื่อนบ้านของเพื่อนบ้านเจ้าของกระต่ายผู้นั้นงัย (จำได้รึปป่าว??)"

12. ยูฮากล่าวตอบว่า "อืม...จำได้ๆ เชิญพวกท่านนั่งรอรัประทานอาหารก่อน..  เชิญนั่งตามสบาย ถือว่าทีนี่..เป็นเสมือนบ้านของพวกท่านเเล้วกัน..."
พวกเขานั่งรอ จนกระทั่งอาหารก็ได้ยกมาจัดเสริฟถึงที่...

13. ยูฮาได้ทำอาหารเมนูพิศดาร โดยที่เขาต้มน้ำร้อนพร้อมใส่กระดาษลงไป...
เเละเมื่อพวกเขาได้ลิ้มรสชาติของเมนูพิสดารดังกล่าว
พวกเขาก็ได้ตะโกนเเสดงความไม่พอใจ  พรางกล่าวว่า.."นี่ๆๆ..มัน เป็นเเค่น้ำร้อนธรรมดานี่หว่าาา.."

14. ยูฮาก็ได้กล่าวตอบตอบอย่างขบขันไปว่า "ก็นี่..คือซุปของซุปของเจ้าของกระต่ายไง  โอ้..ผองเพื่อนบ้านของเจ้าของกระต่าย....ฮ่าๆๆๆๆ

 "ฮิกายะฮฺ" เล่าสู่กันฟัง  เรื่องยูฮา ตอนซุปกระต่าย (مرق الأرنب)

(((จบ)))


อิบนู อะหมัด
เกี่ยวกับผู้เขียนบทความ:
อิบนู อะหมัด นักศึกษาเอกภาษาอาหรับ รหัส 52
นักเขียนคอลัมทั่วไปบนเว็บบล็อกเอกภาษาอาหรับ ม.อ. ปัตตานี
"เป้าหมายสูงสุดในการเรียนภาษาอาหรับ คือการเผยแพร่สิ่งที่ร่ำเรียนมา"
ติดตามนักเขียน FB @ Emronarab

ประเภทของคำกริยาภาษาอาหรับ เเละวิธีผัน




ก่อนเรียนรู้เรื่องนี้พื้นฐานเราจะต้องรู้เกี่ยวกับประเภทของคำกริยาในภาษาอาหรับเป็นอันดับเเรก ซึ่งภาษาอาหรับจะแบ่งคำกริยาออกเป็น 3 กาล  คือ

  1. กริยาอดีตกาล  ( الفعل الماضي)
  2. กริยาปัจจุบันกาล  (الفعل المضارع)
สิ่งต่อมาที่จะต้องทราบคือ  ในคำกริยาภาษาอาหรับ  จะมีอักษรที่เรียกว่า  "حرف عِلَّة"  คืออักษร  ا، و، ي  นั่นเอง

หากเเบ่งประเภทของคำกริยาภาษาอาหรับเเล้ว  เราสามารถเเบ่งออกได้เป็น 2 จำพวกใหญ่ๆ  นั่นก็คือ
  1. กริยาศอเหียห์  (الفعل الصحيح)  คือ  คำกริยาที่ปราศจาก  حَرْف عِلَّة  
  2. กริยามั๊วตัน   (الفعل المعتلّ)    คือ  คำกริยาที่มี  حرف علة  หนึ่งตัวหรือมากกว่านั้น
กริยาศอเหียห์  (الفعل الصحيح)  สามารถแบ่งออกเป็น  3  ประเภท  คือ
  • ซาลิม  (سالم)  คือ  คำกริยา صحيح  ที่ไม่มีพยัญชนะ  أ  (ฮัมซะหฺ)  เเละไม่มีพยัญชนะสองตัวเหมือนกัน  (มีชัดดะหฺ  ّ )  เช่น  كَتَبَ  ،  جَلَسَ   เป็นต้น
  • มะห์มูซ  (مهموز)  คือ  คำกริยา صحيح  ที่มีพยัญชนะ  أ  (ฮัมซะหฺ)  เช่น  أَكَلَ ،  قَرَأَ  ،  سَأَلَ  เป็นต้น
  • มุเฎาะอฺอัฟ  (مضعَّف) คือ  คำกริยา صحيح  ที่มีพยัญชนะสองตัวเหมือนกัน  (มีชัดดะหฺ)  เช่น  جَرَّ  ،  مَرَّ ،  دَلَّ  เป็นต้น
กริยามั๊วตัน   (الفعل المعتلّ)  สามารถแบ่งออกเป็น  3  ประเภท  คือ
  • มิษาล  (مثال)  คือ  คำกริยา  معتلّ  ที่มีพยัญชนะตัวเเรกเป็น  حرف علَّة   เช่น  وَعَدَ  ،  يَسَرَ  ،  أَكَلَ  เป็นต้น
  • อัจญฺวัฟ  (أجوف)  คือ  คำกริยา  معتلّ  ที่มีพยัญชนะตัวกลางเป็น  حرف علَّة   เช่น  نَامَ ،  بَالَ  ،  قَام  เป็นต้น
  • นากิส  (ناقص)  คือ  คำกริยา  معتلّ  ที่มีพยัญชนะตัวท้ายเป็น  حرف علَّة   เช่น  سَعَى  ،  دَعَا  เป็นต้น
นอกจากนี้เเล้วเรายังสามารถที่จะเเบ่ง الفعل المعتلّ  ออกเป็นอีก 2  ประเภท  คือ...
  1. ละฟีฟมัฟรูก  (لفيف مفروق)  คือ  คำกริยา  معتلّ  ที่มีพยัญชนะตัวเเรกและตัวสุดท้ายเป็น  حرف علَّة   เช่น  وَقَى  ،  وَعَى   เป็นต้น
  2. ละฟีฟมักรูน  (لفيف مقرون)  คือ  คำกริยา  معتلّ  ที่มีพยัญชนะตัวกลางเเละตัวท้ายเป็น  حرف علَّة   เช่น  عَوَى  ،  نَوَى  ،  كَوَى  เป็นต้น  

วิธีการผันกริยา ::::>   สามารถอ่านเเละทำความเข้าใจอย่างละเอียดสามารถอ่านเพิ่มเติม
หรือดาวโหลดได้ที่นี

ดาวโหลดไฟล์
วิธีผันคำกริยาอาหรับ


ดาวโหลดไฟล์คำกริยา صحيح เเละกริยา  ّمعتل 
ชนิดไฟล์ : .pdf  I  ขนาดไฟล์ : 871 KB


หนังสือนิทานเรื่อง ญุฮา 35 ตอน



ญูฮาเเละลาคู่กาย

ญุฮา ถือว่าตัวตลกตัวหนึ่งที่หลายคนต่างคุ้นเคยเเละรู้จักในวรรณกรรมอาหรับร่วมสมัย ซึ่งลักษณะนิสัยของตัวละครตัวนี้จะโดดเด่นมาก เลยทำให้เป็นที่รู้จักของหลายๆ สังคมในขณะนั้น หรือเเม้กระทั่งในปัจจุบันเองก็ตาม  

جحا هي شخصية فكاهية انتشرت في كثير من الثقافات القديمة ونسبت إلى شخصيات عديدة عاشت في عصور ومجتمعات مختلفة. وجحا اسم لا ينصرف لأنه معدول من جاح، مثل عمرو من عامر ويقال: جحا يجحو جحواً إذا رمى. ويقال: حيا الله جحوتك. أي وجهك الميداني، مجمع الأمثال، موقع الوراق، الصفحة وفي الأدب العربي، نسب حجا إلى أبو الغصن دُجين الفزاري الذي عاصر الدولة الأموية. وهو أقدم شخصيات جحا والنكات العربية تنسب له. وفي الأدب التركي، نسبت قصص جحا إلى الشيخ نصر الدين خوجه الرومي الذي عاش في قونية معاصرا الحكم المغولي لبلاد الأناضول ومعظم القصص المعروفة في الأدب العالمي تنسب له

سلسلة نوادر جحـا
بقلم و ريشة: شوقي حسن
ชื่อตอนทั้งหมดของเรื่อง ญุฮา  
สามารถดาวโหลดได้ทั้งหมดเพียงลิ้งเดียว ด้านล่างสุด


ดาวโหลดไฟล์หนังสือผ่าน Mediafire
ชนิดไฟล์ : .pdf   I  ขนาดไฟล์ : 146 MB